News & Update

“บีไอจี-วิศวะ จุฬา” รุกใช้ Climate Technology ยกระดับลดปล่อยคาร์บอน

“บีไอจี-วิศวะ จุฬา” รุกใช้ Climate Technology ยกระดับลดปล่อยคาร์บอน เดินหน้าบริหารจัดการด้านพลังงานอย่างยั่งยืน และช่วยลดการปลดปล่อยคาร์บอนจากกการใช้พลังงานในอาคารตภายในคณะจากการใช้งานและการบำรุงรักษาพลังงาน 

คุณปิยบุตร จารุเพ็ญ กรรมการผู้จัดการ บริษัท บางกอกอินดัสเทรียลแก๊ส จำกัด หรือ บีไอจี (BIG) เปิดเผยว่า ได้ดำเนินการร่วมกับคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เพื่อจัดการตรวจสอบและวิเคราะห์แนวทางการลดการปล่อยซึ่งคณะวิศวะฯ เป็นหนึ่งในสองคณะในจุฬาฯ ที่ได้รับการรับรองคาร์บอนฟุตพริ้นท์องค์กร นำนวัตกรรมรวมถึง Platform ที่ช่วยในการวางแผนและติดตามเพื่อช่วยลดการปลดปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในรูปแบบ Carbon Management Platform มาใช้งานร่วมกับ Platform ที่ทางคณะฯ และสถาบันคาร์บอนเพื่อความยั่งยืน (CBiS) ได้พัฒนาขึ้น มาใช้งานในคณะวิศวะฯ ซึ่งจะช่วยบริหารจัดการด้านพลังงานอย่างยั่งยืนและช่วยลดการปลดปล่อยคาร์บอนจากใช้พลังงานในอาคารต่างๆ ภายในคณะจากการใช้งานและการบำรุงรักษาพลังงาน 

รวมถึงการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ โดยนำไปสู่การลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกโดยใช้ Carbon Management Platform ที่พัฒนาโดยบีไอจี ยกระดับการบริหารจัดการพลังงานในสถาบันการศึกษา และศึกษาการนำ Climate Technology มาใช้ประโยชน์นอกเหนือจากภาคอุตสาหกรรม ซึ่งคณะวิศวะฯ เป็นหนึ่งในสองคณะในจุฬาฯ ที่ได้รับการรับรองคาร์บอนฟุตพริ้นท์องค์กร จึงได้ร่วมมือกับบีไอจีในการนำนวัตกรรมรวมถึง Platform ที่ช่วยในการวางแผนและติดตามเพื่อช่วยลดการปลดปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในรูปแบบ Carbon Management Platform มาใช้งานร่วมกับ Platform ที่ทางคณะฯ

และสถาบันคาร์บอนเพื่อความยั่งยืน (CBiS) ได้พัฒนาขึ้น มาใช้งานในคณะวิศวะฯ ซึ่งจะช่วยบริหารจัดการด้านพลังงานอย่างยั่งยืนและช่วยลดการปลดปล่อยคาร์บอนจากใช้พลังงานในอาคารต่างๆ ภายในคณะ ซึ่งคณะวิศวะฯ เป็นหนึ่งในสองคณะในจุฬาฯ ที่ได้รับการรับรองคาร์บอนฟุตพริ้นท์องค์กร จึงได้ร่วมมือกับบีไอจีในการนำนวัตกรรมรวมถึง Platform ที่ช่วยในการวางแผนและติดตามเพื่อช่วยลดการปลดปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในรูปแบบ Carbon Management Platform มาใช้งานร่วมกับ Platform ที่ทางคณะฯ

และสถาบันคาร์บอนเพื่อความยั่งยืน (CBiS) ได้พัฒนาขึ้น มาใช้งานในคณะวิศวะฯ ซึ่งจะช่วยบริหารจัดการด้านพลังงานอย่างยั่งยืนและช่วยลดการปลดปล่อยคาร์บอนจากใช้พลังงานในอาคารต่างๆ ภายในคณะ

Source : ฐานเศรษฐกิจ

จีนตั้งเป้าผลิตพลังงานไฟฟ้า 1 ใน 3 จากแหล่งพลังงานสะอาดภายในปี 2025

คณะกรรมการพัฒนาและปฏิรูปแห่งชาติจีน (NDRC) ตั้งเป้าผลิตพลังงานไฟฟ้า 1 ใน 3 หรือประมาณ 33% จากพลังงานไฟฟ้าทั้งหมดที่ผลิตในประเทศจากแหล่งพลังงานสะอาดภายในปี 2025 จากปริมาณการผลิตเดิมในปี 2021 ที่สามารถผลิตพลังงานไฟฟ้าจากแหล่งพลังงานสะอาด 28.8% เพื่อลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากกระบวนการผลิตกระแสไฟฟ้ารูปแบบอื่น เช่น โรงไฟฟ้าถ่านหิน

ทีม PRISM ปตท. แนะธุรกิจปิโตรเคมี ปรับตัวตามเทรนด์โลกสู่ความยั่งยืน

ปตท. โดยทีม  “โครงการบริหารการสร้างประโยชน์ร่วมธุรกิจปิโตรเคมีและการกลั่น” หรือ PRISM จัดสัมมนาประจำปีครั้งที่ 15 แนะผู้ประกอบการอุตสาหกรรมปิโตรเคมี เร่งปรับตัวรับเทรนด์โลกมุ่งสู่ความยั่งยืน ด้านกลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร…

‘ยุโรป’ อนุญาตติดตั้ง ‘โซลาร์เซลล์’ บนตึกเก่า เน้นดีไซน์สวยงาม เข้ากับของเดิม

ด้วยความต้องการพลังงานสีเขียวที่เพิ่มมากขึ้น อาคารประวัติศาสตร์หลายแห่งทั่วทั้งยุโรปจึงได้ติดตั้งแผงโซลาร์เซลล์โดยใช้เทคนิคที่สร้างสรรค์และสร้างสรรค์ หนึ่งในนั้นคือ “พิพิธภัณฑ์กุกเกนไฮม์ บิลบาโอ” พิพิธภัณฑ์งานศิลปะสมัยใหม่และร่วมสมัยในประเทศสเปน  พิพิธภัณฑ์กุกเกนไฮม์ บิลบาโอ เพิ่งติดตั้งแผงโซลาร์เซลล์ 300…